พายุดีเปรสชันเขตร้อน ของ ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559

รายการพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงสูงสุดเป็นเพียงพายุดีเปรสชัน โดยอาจเป็นพายุที่มีรหัสเรียกตามหลังด้วยตัวอักษร W โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม หรืออาจได้รับชื่อท้องถิ่นจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) แต่ไม่ถูกตั้งชื่อตามเกณฑ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวระบุเพียงแต่คำว่า TD (Tropical Depression) หรือพายุดีเปรสชันเท่านั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 01W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา26 – 28 พฤษภาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
998 mbar (hPa; 29.47 inHg)
  • วันที่ 26 พฤษภาคม หลังจากเกือบหกเดือนที่แอ่งไม่มีพายุเลย เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม สำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ได้เริ่มเฝ้าสังเกตพายุดีเปรสชันเขตร้อนกำลังอ่อน ซึ่งอยู่ถัดจากมรสุมภายในทะเลจีนใต้
  • วันที่ 27 พฤษภาคม การหมุนเวียนมีเพิ่มขึ้น และพายุดีเปรสชันเขตร้อนบรรลุความรุนแรงที่ความกดอากาศต่ำสุด 998 มิลลิบาร์ ขณะที่มันกำลังพัดขึ้นฝั่งในเขตเยี่ยนเจียง ประเทศจีน
  • วันที่ 28 พฤษภาคม JMA ไม่ติดตามเส้นทางเดินพายุต่อ เนื่องจากมันถูกดูดกลืนเข้ากับแนวปะทะอากาศ

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 2

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา23 – 25 มิถุนายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1006 mbar (hPa; 29.71 inHg)
  • วันที่ 23 มิถุนายน สำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) เริ่มติดตามพายุดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้กึ่งตะวันตกของมะนิลา ฟิลิปปินส์ พายุดีเปรสชันเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกในช่วงเวลาสั้น ๆ จนกระทั่งหยุดนิ่งเหนือทะเลจีนใต้
  • วันที่ 25 มิถุนายน เนื่องจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม JMA จึงหยุดติดตามพายุดีเปรสชัน

อย่างไรก็ตาม เศษที่เหลือของพายุทำให้เกิดฝนตกหนักในภาคกลางของเวียดนาม

พายุดีเปรสชันเขตร้อนอัมโบ

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา26 – 28 มิถุนายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1004 mbar (hPa; 29.65 inHg)

เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นเหนือทะเลฟิลิปปิน หลังจากนั้นไม่นาน ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ได้ออกประกาศการแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ในขณะนั้น PAGASA ได้เริ่มต้นติดตามระบบพายุ และใช้ชื่อกับดีเปรสชันว่า อัมโบ (Ambo)[55] ชั่วโมงถัดมา อัมโบได้เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งที่จังหวัดออโรรา ของฟิลิปปินส์ ซึ่ง PAGASA ได้ชี้ว่าอัมโบได้อ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ[56] ภายหลังที่พายุขึ้นฝั่ง JTWC ได้ยกเลิกการแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ในช่วงวันถัดไป ระบบได้ปรากฏในทะเลจีนใต้ พร้อมกับระดับความรุนแรงเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม สำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นได้หยุดการเฝ้าระวังพายุลงหลังจากวันนั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 03W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา15 – 20 กรกฎาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1006 mbar (hPa; 29.71 inHg)
  • วันที่ 14 กรกฎาคม หย่อมความกดอากาศต่ำพัฒนาขึ้นใกล้กับทางตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตกของเกาะกวมที่ระยะ 400 กม. ณ เวลาที่การหมุนเวียนในชั้นแอทโมสเฟียร์รอบ ๆ ระบบขยายออก เหนือระบบกำลังอ่อนแต่การพัฒนาเกิดขึ้นในศูนย์กลางการไหลเวียนระดับต่ำ อย่างไรก็ตามที่แนวสันกึ่งเขตร้อนของความกดอากาศสูงกว้างออกไปมีผลนัยสำคัญให้อากาศแห้งปกคลุมเหนือความกดอากาศต่ำ ปัจจัยแวดล้อมถูกประเมินว่ามีขอบเขตที่สนับสนุนการพัฒนาของระบบ
  • วันที่ 15 กรกฎาคม ระบบพัฒนามากขึ้นทีละน้อยในขณะที่มันเคลื่อนที่ไปในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ และได้รับการจัดเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนโดยสำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA)
  • วันที่ 17 กรกฎาคม หลังจากที่ระบบมีการรวมกันมากขึ้น ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ได้จัดระดับระบบเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน 03W อย่างไรก็ตาม ระบบได้อ่อนกำลังลงขณะที่มันกำลังเคลื่อนตัวไปในแนวขั้วโลก ตลอดขอบตะวันตกของแนวสันกึ่งเขตร้อนของความกดอากาศสูง เข้าสู่พื้นที่ของลมเฉือนแนวตั้งที่เพิ่มขึ้น เป็นผลให้ JTWC คาดว่าระบบจะสลายตัวไปอย่างรวดเร็วและออกคำเตือนสุดท้ายในวันเดียวกันนั้นเลย

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 8

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา27 กรกฎาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1006 mbar (hPa; 29.71 inHg)
  • วันที่ 27 กรกฎาคม JMA ตรวจพบพายุดีเปรสชันเขตร้อนกำลังอ่อนทางใต้ของญี่ปุ่น เป็นเวลาสั้น ๆ[57]

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 10

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา28 – 29 กรกฎาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1008 mbar (hPa; 29.77 inHg)
  • วันที่ 28 กรกฎาคม JMA ตรวจพบพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นทางตะวันออกเฉียงใต้ของญี่ปุ่นในช่วงบ่ายของวัน[30]
  • วันที่ 29 กรกฎาคม ต่อมา JMA ลดระดับความรุนแรงลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ[58]

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 12

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา6 – 9 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
998 mbar (hPa; 29.47 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 14

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา10 – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 16

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา12 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 18

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา16 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
996 mbar (hPa; 29.41 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 14W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา23 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 23

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา24 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 24

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา24 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1002 mbar (hPa; 29.59 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 25

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา25 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 26

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา27 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1006 mbar (hPa; 29.71 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 27

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา30 – 31 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1004 mbar (hPa; 29.65 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 17W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา11 – 12 กันยายน
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
1012 mbar (hPa; 29.88 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา15 – 16 ตุลาคม
ความรุนแรง45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1008 mbar (hPa; 29.77 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 42

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา1 – 4 พฤศจิกายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 43

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา3 – 6 พฤศจิกายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1004 mbar (hPa; 29.65 inHg)


พายุดีเปรสชันเขตร้อน 28W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา3 – 6 พฤศจิกายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1008 mbar (hPa; 29.77 inHg)

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2547 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559 http://199.9.2.143/tcdat/tc16/WPAC/05W.MIRINAE/tra... http://www.ctvnews.ca/world/death-toll-rises-to-15... http://www.globaltimes.cn/content/1013460.shtml http://www.mca.gov.cn/article/yw/jzjz/zqkb/zqhz/20... http://www.mca.gov.cn/article/yw/jzjz/zqkb/zqhz/20... http://www.mca.gov.cn/article/yw/jzjz/zqkb/zqhz/20... http://tcdata.typhoon.gov.cn/en/ http://tcrr.typhoon.gov.cn/EN/article/downloadArti... http://www.nmc.cn/publish/typhoon/warning.html http://www.australiasevereweather.com/cyclones/200...